มรดกโลก
มรดกโลก สิ่งลํ้าค่าทางวัฒธรรมและธรรมชาติ
ช่วงนี้ได้ยินเรื่อง มรดกโลก กันบ่อยเนื่องด้วยประเด็นพิพาทเขาพระวิหารที่อยู่กึ่งกลางสองพรมแดน หลายคนคงสงสัยว่า มรดกโลก คืออะไรถูกตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร ทำไมแต่ละประเทศถึงอยากที่จะมีสถานที่ที่ได้ชื่อว่าเป็นมรดกโลกหลายๆแห่ง
อนึ่ง มรดกโลก (ภาษาอังกฤษ: World Heritage Site ภาษาฝรั่งเศส Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ที่คัดเลือกโดยองค์การยูเนสโก UNESCO (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
ความเป็นมา
องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาชาติ หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า ยูเนสโก (United Nations Educational Scientific and Cultural Organization - UNESCO) มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมให้มีการกำหนด ปกป้อง และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติจากทั่วโลกที่คิดว่ามีคุณค่าอย่าง เด่นชัดต่อมนุษยชาติ
ความคิดที่จะก่อให้เกิดมีการเคลื่อนไหวจากนานาชาติในอันที่จะปกป้องสถานที่ ในประเทศอื่นๆ มีมาแล้วตั้งแต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่เหตุการณ์อันเป็นจุดเริ่มต้นที่ปลุกเร้าให้เกิดความสนใจจากนานาชาตินั้น ก็มาจากการตัดสินใจที่จะสร้างเขื่อนอัสวานซึ่งอยู่ใกล้ต้นน้ำที่เมืองอัสวาน ในประเทศอียิปต์ ซึ่งจะทำให้น้ำท่วมหุบเขาที่มีวิหารอะบูซิมเบล (Abu Simbel) อันเป็นสมบัติล้ำค่าของวัฒนธรรมอียิปต์โบราณ ในปี ค.ศ. 1959 หลังจากได้รับคำขอร้องจากรัฐบาลอียิปต์และรัฐบาลซูดาน ยูเนสโกจึงตกลงใจเริ่มลงมือในโครงการนานาชาติซึ่งส่งผลให้วิหารอะบูซิมเบล (The Great Temple of Abu Simbel) และสุสานไอซิสแห่งฟิเล (Sanctuary of Isis in Philae) ได้รับการรื้อถอนโยกย้ายไปยังที่สูง และประกอบขึ้นใหม่ให้เหมือนเดิมด้วยวิธีอะนาสตีโลซีส คือ รื้อประกอบใหม่โดยตัดหินออกเป็นก้อนๆ และประกอบขึ้นใหม่ให้เหมือนเดิม (Anastylosis)
โครงการนั้นใช้เงินประมาณ 80 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งครึ่งหนึ่งของเงินจำนวนนี้ได้รับการบริจาคจาก 50 ประเทศด้วยกัน อันแสดงถึงความสำคัญของความรับผิดชอบร่วมกันต่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งสถานที่ ที่มีคุณค่าอย่างยิ่งยวดทางวัฒนธรรม ความสำเร็จในครั้งนี้ได้ชักโยงไปถึงโครงการอนุรักษ์อื่นๆ เป็นต้นว่า เมืองเวนิสในอิตาลี เมืองโมเอนโจดาโร ในปากีสถาน และบุโรพุทโธใน อินโดนีเซีย
จากผลพวงนี้ยูเนสโกจึงริเริ่มเตรียมร่าง อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมขึ้นมา ทั้งนี้ด้วยความร่วมมือจาก สภานานาชาติว่าด้วยอนุสรณ์สถานและบริเวณโดยรอบ (The International Council on Monuments and Sites -ICOMOS)
องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาชาติ หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า ยูเนสโก (United Nations Educational Scientific and Cultural Organization - UNESCO) มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมให้มีการกำหนด ปกป้อง และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติจากทั่วโลกที่คิดว่ามีคุณค่าอย่าง เด่นชัดต่อมนุษยชาติ
ความคิดที่จะก่อให้เกิดมีการเคลื่อนไหวจากนานาชาติในอันที่จะปกป้องสถานที่ ในประเทศอื่นๆ มีมาแล้วตั้งแต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่เหตุการณ์อันเป็นจุดเริ่มต้นที่ปลุกเร้าให้เกิดความสนใจจากนานาชาตินั้น ก็มาจากการตัดสินใจที่จะสร้างเขื่อนอัสวานซึ่งอยู่ใกล้ต้นน้ำที่เมืองอัสวาน ในประเทศอียิปต์ ซึ่งจะทำให้น้ำท่วมหุบเขาที่มีวิหารอะบูซิมเบล (Abu Simbel) อันเป็นสมบัติล้ำค่าของวัฒนธรรมอียิปต์โบราณ ในปี ค.ศ. 1959 หลังจากได้รับคำขอร้องจากรัฐบาลอียิปต์และรัฐบาลซูดาน ยูเนสโกจึงตกลงใจเริ่มลงมือในโครงการนานาชาติซึ่งส่งผลให้วิหารอะบูซิมเบล (The Great Temple of Abu Simbel) และสุสานไอซิสแห่งฟิเล (Sanctuary of Isis in Philae) ได้รับการรื้อถอนโยกย้ายไปยังที่สูง และประกอบขึ้นใหม่ให้เหมือนเดิมด้วยวิธีอะนาสตีโลซีส คือ รื้อประกอบใหม่โดยตัดหินออกเป็นก้อนๆ และประกอบขึ้นใหม่ให้เหมือนเดิม (Anastylosis)
โครงการนั้นใช้เงินประมาณ 80 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งครึ่งหนึ่งของเงินจำนวนนี้ได้รับการบริจาคจาก 50 ประเทศด้วยกัน อันแสดงถึงความสำคัญของความรับผิดชอบร่วมกันต่อการอนุรักษ์ไว้ซึ่งสถานที่ ที่มีคุณค่าอย่างยิ่งยวดทางวัฒนธรรม ความสำเร็จในครั้งนี้ได้ชักโยงไปถึงโครงการอนุรักษ์อื่นๆ เป็นต้นว่า เมืองเวนิสในอิตาลี เมืองโมเอนโจดาโร ในปากีสถาน และบุโรพุทโธใน อินโดนีเซีย
จากผลพวงนี้ยูเนสโกจึงริเริ่มเตรียมร่าง อนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมขึ้นมา ทั้งนี้ด้วยความร่วมมือจาก สภานานาชาติว่าด้วยอนุสรณ์สถานและบริเวณโดยรอบ (The International Council on Monuments and Sites -ICOMOS)
ความคิดที่จะรวมการอนุรักษ์สถานที่ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติเข้าด้วยกันนั้นมา จากประเทศสหรัฐอเมริกา ในการประชุมที่ทำเนียบขาว ณ กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. เมื่อปี ค.ศ. 1965 ได้มีการ เสนอให้มี "การดูแลรับผิดชอบมรดกโลก" ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือจากนานาชาติในอันที่จะปกป้อง "สถานที่อันล้ำค่าทางธรรมชาติทางทัศนียภาพ และทางประวัติศาสตร์จากทั่ว โลก" ไว้เพื่อปัจจุบันและอนาคตแห่งพลโลก ในปี ค.ศ. 1968 สหภาพนานาชาติว่าด้วยการสงวนรักษาธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ (The International Union for the Conservation of Nature and Natural Sources -IUCN ปัจจุบันชื่อ The World Conservation Union) ก็ได้มีการเสนอในทำนองเดียวกัน ข้อเสนอเหล่านี้ได้รับการเสนอเข้าที่ประชุมของสหประชาชาติเกี่ยวกับเรื่อง สิ่งแวดล้อมของคนซึ่งได้จัดให้มีขึ้นที่กรุงสตอกโฮล์ม (สวีเดน) เมื่อปี ค.ศ. 1972
ในที่สุด ข้อเสนอเหล่านี้ก็เหลือเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้นซึ่งได้รับความเห็นชอบจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อนุสัญญาว่าด้วยการปกป้องมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ จึงได้รับการยอมรับจากที่ประชุมใหญ่ของยูเนสโกเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ.1972 (พ.ศ. 2515)
ข้อกำหนดและเกณฑ์เกี่ยวกับการเสนอแหล่งมรดกโลก
เกณฑ์มรดกโลกทางวัฒนธรรม
1. มีลักษณะโครงสร้างต่างๆ สะท้อนถึงอดีต เช่น งานทางสถาปัตยกรรม ผลงานที่เป็นอนุสรณ์ในเชิงจิตรกรรม หรือประติมากรรม โครงสร้างทางธรรมชาติที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดี ถ้ำที่ใช้เป็นที่อยู่ของมนุษย์ หรือลักษณะอื่นๆ ใกล้เคียงซึ่งมีคุณค่าและความสำคัญในระดับสากลในทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร์
2. เป็นกลุ่มอาคารที่มีความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือลักษณะทางภูมิสถาปัตย์ ที่มีคุณค่าหรือความสำคัญในระดับสากลไม่ว่าจะในทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร์
3. เป็นที่ตั้งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผลงานของมนุษย์โดยเฉพาะ หรือเป็นการร่วมกันของทั้งมนุษย์และธรรมชาติ รวมทั้งที่ตั้งที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดี ซึ่งล้วนมีคุณค่าและความสำคัญระดับสากลไม่ว่าจะในด้านประวัติศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ชาติพันธุ์วิทยา หรือมานุษยวิทยา
การที่ลักษณะทั้ง 3 ข้อดังกล่าวจะจะถูกจัดว่ามีคุณค่า ความสำคัญ และชื่อเสียงระดับโลก หรือไม่นั้น จะต้องเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งใน 6 ข้อดังนี้
1. เป็นสิ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของความสำเร็จทางด้านศิลปะซึ่งเป็นต้นแบบหรือแบบฉบับต่อๆ มา
2. เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาด้านสถาปัตยกรรม ศิลป ผังเมือง หรือภูมิสถาปัตย์ ในแหล่งอารยธรรมแหล่งใดแหล่งหนึ่งของโลก
3. เป็นหลักฐานเฉพาะที่แสดงถึงความเป็นอารยธรรมหนึ่งๆ ซึ่งสูญหายหรือล่มสลายไป
4. เป็นรูปแบบของอาคาร หรือผลงานด้านสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงซึ่งปรากฏชัดเจนช่วงสำคัญๆ ทางประวัติศาสตร์
5. เป็นรูปแบบของการตั้งถิ่นฐานที่มีชื่อเสียง อันสะท้อนลักษณะวัฒนธรรมในช่วงสำคัญๆทางประวัติศาสตร์
6. มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ ความคิด หรือความเชื่อที่มีความสำคัญ และมีชื่อเสียงในระดับสากล (ข้อนี้คณะกรรมการฯ จะพิจารณาเฉพาะที่เป็นเหตุการณ์ที่พิเศษจริงๆ เท่านั้น แต่อาจนำไปประกอบกับเกณฑ์ข้างต้นทั้ง 5 ข้อ ด้วยก็ได้) รวมทั้งต้องมีการตรวจสอบว่า มีลักษณะดั้งเดิมที่แท้จริงหรือไม่ กล่าวคือ
1. ต้องผ่านการตรวจสอบลักษณะดั้งเดิมในด้านการออกแบบ วัสดุ ฝีมือ ตลอดจนการติดตั้งต่างๆ ซึ่งทั้งนี้คณะกรรมการ ฯ จะยอมรับการปรับปรุงบูรณะต่างๆ ที่อยู่บนพื้นฐาน และรายละเอียดทางวิชาการที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามลักษณะดั้งเดิมเท่านั้น
2. ต้องมีระบบการจัดการและกฎหมายคุ้มครอง เพื่อเป็นหลักประกันว่า จะมีการอนุรักษ์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ อย่างจริงจัง และต้องแจ้งให้คณะกรรมการทราบด้วยว่า กฎหมายที่คุ้มครองนั้นอยู่ในระดับประเทศ จังหวัด หรือเทศบาล
ทั้งนี้ สิ่งที่อาจสามารถถูกเคลื่อนย้ายไปมาได้จะไม่ได้รับการพิจารณาให้เข้าอยู่ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกโดยเด็ดขาด
ส่วนกลุ่มอาคารที่มีการพิจารณาในระดับ "เมือง" นั้นคณะกรรมการ ฯ จะพิจารณาเมืองที่เข้าเกณฑ์ 3 ประการดังนี้คือ
1. เมือง ที่มีการอาศัยอยู่มาไม่นาน แต่มีรูปแบบซึ่งเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่ไม่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งสภาพการอนุรักษ์ที่ดี
2. เมืองเก่า ซึ่งยังมีการอาศัยอยู่ โดยมีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง และเป็นการยากที่จะตรวจสอบลักษณะดั้งเดิมที่แท้จริงทางโบราณคดี ตลอดจนมีปัญหาในการอนุรักษ์อย่างมาก
3.เมืองใหม่ ในช่วงศตวรรษที่ 20 มีลักษณะที่ขัดแย้งกันระหว่างความชัดเจนสมบูรณ์ในรูปแบบ และลักษณะความดั้งเดิมที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดีกับทิศทางการพัฒนาของเมือง ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ นอกจากนี้ในการเสนอชื่อแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นกลุ่มอาคารระดับเมือง ควรมีการสรุปให้เห็นว่า
จากลักษณะอาคารนั้นทำให้เมืองนั้นๆ มีภาพลักษณ์ไปในประเภทใดดังต่อไปนี้ด้วย คือ
1. เมืองที่มีลักษณะเฉพาะซึ่งสะท้อนยุคสมัยของวัฒนธรรมซึ่งได้รับการอนุรักษ์ ไว้เกือบทั้งหมด และไม่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาของเมืองในยุคต่อมา ซึ่งควรรวมพื้นที่รอบข้างที่จำเป็นในการเสนอชื่อด้วย
2. เมืองซึ่งมีพัฒนาการมานาน มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอด แต่ได้มีการอนุรักษ์พื้นที่และโครงการดั้งเดิมต่างๆ ของยุคสมัยต่างๆ ไว้ โดยมีสิ่งแวดล้อมโดยรอบเป็นปัจจุบัน
3. เมืองศูนย์กลางซึ่งอยู่บนพื้นที่ซึ่งเคยเป็นเมืองโบราณ แต่ปัจจุบันกลายเป็นเมืองรูปแบบสมัยใหม่ ทั้งนี้ควรมีการบ่งชี้ว่า มีความเป็นมาตั้งแต่ยุคใด และมีขอบเขตโดยรอบที่ถูกต้องลงไปด้วย
4. พื้นที่ หรืออาณาเขตซึ่งอาจอยู่ในลักษณะของซากเมืองหรือร่องรอยที่เหลืออยู่ ซึ่งปรากฏหลักฐานมากพอที่จะบ่งบอกความเป็นเมืองโบราณ
ในการเสนอชื่อเมืองศูนย์กลางและพื้นที่เมืองโบราณ (ตามข้อ 3 และ 4 ข้างต้น) ควรจะเป็นสถานที่ที่มีหลักฐานทางโบราณคดีมากพอ ไม่ควรเป็นลักษณะของอาคารเก่าเพียง 2-3 หลังเท่านั้น เป็นต้น
ในกรณีที่รูปแบบของอาคารในเมืองนั้นไม่ได้สะท้อนเอกลักษณ์โดยรวมของเมือง นั้นๆ หากมีความสำคัญพิเศษต่างหากก็ไม่ควรอ้างอิงถึงเมืองที่อาคารนั้นตั้งอยู่
เมืองที่เสนอควรเป็นเมืองขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก ซึ่งพอจะสามารถจัดการกับการเจริญเติบโตได้ ส่วนชนบท หมู่บ้าน หรืองานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยนั้น ควรมีผลการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาต่างๆ ส่งไปเพื่อการพิจารณาด้วย
เกณฑ์การเสนอแหล่งมรดกทางธรรมชาติ
คณะกรรมการฯ กำหนดให้แหล่งมรดกทางธรรมชาติหมายถึง
1.ลักษณะทางธรรมชาติทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพที่มีคุณค่า ความสำคัญ และชื่อเสียงในระดับสากล ทั้งในแง่สุนทรียภาพและวิทยาศาสตร์
2.ลักษณะทางธรณี ภูมิประเทศ หรือพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์หรือพืชที่หายาก ซึ่งมีคุณค่าและความสำคัญในระดับสากลในแง่วิทยาศาสตร์ หรือการอนุรักษ์
3.พื้นที่ทางธรรมชาติโดยเฉพาะที่มีคุณค่าและความสำคัญระดับสากลในแง่ของวิทยาศาสตร์ การอนุรักษ์ และความงามตามธรรมชาติ
ซึ่งทั้งสามประเภทต้องมีลักษณะเข้าเกณฑ์หนึ่งใน 4 ประการดังนี้ด้วย คือ
(1) เป็นสิ่งแสดงหรือบอกถึงยุคหรือช่วงที่สำคัญของวิวัฒนาการของโลกอย่างชัดเจน
(2) เป็นสิ่งแสดงหรือบอกถึงกระบวนการทางธรณีวิทยา วิวัฒนาการทางชีววิทยา ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ที่มนุษย์มีต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในแบบต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันตามช่วงพัฒนาการของโลก
(3) เป็นแหล่งปรากฏการณ์ธรรมชาติที่พิเศษ เช่น พื้นที่ซึ่งยังมีระบบนิเวศและธรรมชาติที่สวยงามอันมีชื่อเสียง หรือแม้แต่พื้นที่ซึ่งมีระบบนิเวศน์และองค์ประกอบด้านอารยธรรมที่มีชื่อ เสียง
(4) เป็นแหล่งอาศัยที่สำคัญของพืชและสัตว์ที่หายากซึ่งมีชื่อเสียง
(5) ในกรณีของสัตว์ที่มีการอพยพย้ายถิ่น ควรมีการคุ้มครองพื้นที่ที่สัตว์จะย้ายไปอยู่เช่นกัน ทั้งนี้ควรมีข้อตกลงของประเทศที่เกี่ยวข้องเสียก่อน
(6) พื้นที่ในข้อ (1) ถึง (4) จะต้องได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่น ในรูปของอุทยานแห่งชาติ หากไม่มีก็ควรมีแผนการจัดการที่จะนำไปปฏิบัติต่อไปได้
ข้อกำหนดในการคัดชื่อแหล่งมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลก
คณะกรรมการฯ จะพิจารณาคัดชื่อแหล่งมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลกได้ตามระเบียบที่วางไว้ในกรณีที่
1. แหล่งมรดกนั้นได้รับความเสียหายจนสูญเสียลักษณะที่ชัดเจนของตัวเอง
ข้อกำหนดและเกณฑ์เกี่ยวกับการเสนอแหล่งมรดกโลก
เกณฑ์มรดกโลกทางวัฒนธรรม
1. มีลักษณะโครงสร้างต่างๆ สะท้อนถึงอดีต เช่น งานทางสถาปัตยกรรม ผลงานที่เป็นอนุสรณ์ในเชิงจิตรกรรม หรือประติมากรรม โครงสร้างทางธรรมชาติที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดี ถ้ำที่ใช้เป็นที่อยู่ของมนุษย์ หรือลักษณะอื่นๆ ใกล้เคียงซึ่งมีคุณค่าและความสำคัญในระดับสากลในทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร์
2. เป็นกลุ่มอาคารที่มีความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือลักษณะทางภูมิสถาปัตย์ ที่มีคุณค่าหรือความสำคัญในระดับสากลไม่ว่าจะในทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือวิทยาศาสตร์
3. เป็นที่ตั้งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผลงานของมนุษย์โดยเฉพาะ หรือเป็นการร่วมกันของทั้งมนุษย์และธรรมชาติ รวมทั้งที่ตั้งที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดี ซึ่งล้วนมีคุณค่าและความสำคัญระดับสากลไม่ว่าจะในด้านประวัติศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ชาติพันธุ์วิทยา หรือมานุษยวิทยา
การที่ลักษณะทั้ง 3 ข้อดังกล่าวจะจะถูกจัดว่ามีคุณค่า ความสำคัญ และชื่อเสียงระดับโลก หรือไม่นั้น จะต้องเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งใน 6 ข้อดังนี้
1. เป็นสิ่งแสดงถึงเอกลักษณ์ของความสำเร็จทางด้านศิลปะซึ่งเป็นต้นแบบหรือแบบฉบับต่อๆ มา
2. เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาด้านสถาปัตยกรรม ศิลป ผังเมือง หรือภูมิสถาปัตย์ ในแหล่งอารยธรรมแหล่งใดแหล่งหนึ่งของโลก
3. เป็นหลักฐานเฉพาะที่แสดงถึงความเป็นอารยธรรมหนึ่งๆ ซึ่งสูญหายหรือล่มสลายไป
4. เป็นรูปแบบของอาคาร หรือผลงานด้านสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงซึ่งปรากฏชัดเจนช่วงสำคัญๆ ทางประวัติศาสตร์
5. เป็นรูปแบบของการตั้งถิ่นฐานที่มีชื่อเสียง อันสะท้อนลักษณะวัฒนธรรมในช่วงสำคัญๆทางประวัติศาสตร์
6. มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ ความคิด หรือความเชื่อที่มีความสำคัญ และมีชื่อเสียงในระดับสากล (ข้อนี้คณะกรรมการฯ จะพิจารณาเฉพาะที่เป็นเหตุการณ์ที่พิเศษจริงๆ เท่านั้น แต่อาจนำไปประกอบกับเกณฑ์ข้างต้นทั้ง 5 ข้อ ด้วยก็ได้) รวมทั้งต้องมีการตรวจสอบว่า มีลักษณะดั้งเดิมที่แท้จริงหรือไม่ กล่าวคือ
1. ต้องผ่านการตรวจสอบลักษณะดั้งเดิมในด้านการออกแบบ วัสดุ ฝีมือ ตลอดจนการติดตั้งต่างๆ ซึ่งทั้งนี้คณะกรรมการ ฯ จะยอมรับการปรับปรุงบูรณะต่างๆ ที่อยู่บนพื้นฐาน และรายละเอียดทางวิชาการที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามลักษณะดั้งเดิมเท่านั้น
2. ต้องมีระบบการจัดการและกฎหมายคุ้มครอง เพื่อเป็นหลักประกันว่า จะมีการอนุรักษ์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ อย่างจริงจัง และต้องแจ้งให้คณะกรรมการทราบด้วยว่า กฎหมายที่คุ้มครองนั้นอยู่ในระดับประเทศ จังหวัด หรือเทศบาล
ทั้งนี้ สิ่งที่อาจสามารถถูกเคลื่อนย้ายไปมาได้จะไม่ได้รับการพิจารณาให้เข้าอยู่ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกโดยเด็ดขาด
ส่วนกลุ่มอาคารที่มีการพิจารณาในระดับ "เมือง" นั้นคณะกรรมการ ฯ จะพิจารณาเมืองที่เข้าเกณฑ์ 3 ประการดังนี้คือ
1. เมือง ที่มีการอาศัยอยู่มาไม่นาน แต่มีรูปแบบซึ่งเป็นหลักฐานทางโบราณคดีที่ไม่เปลี่ยนแปลง รวมทั้งสภาพการอนุรักษ์ที่ดี
2. เมืองเก่า ซึ่งยังมีการอาศัยอยู่ โดยมีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง และเป็นการยากที่จะตรวจสอบลักษณะดั้งเดิมที่แท้จริงทางโบราณคดี ตลอดจนมีปัญหาในการอนุรักษ์อย่างมาก
3.เมืองใหม่ ในช่วงศตวรรษที่ 20 มีลักษณะที่ขัดแย้งกันระหว่างความชัดเจนสมบูรณ์ในรูปแบบ และลักษณะความดั้งเดิมที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดีกับทิศทางการพัฒนาของเมือง ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ นอกจากนี้ในการเสนอชื่อแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นกลุ่มอาคารระดับเมือง ควรมีการสรุปให้เห็นว่า
จากลักษณะอาคารนั้นทำให้เมืองนั้นๆ มีภาพลักษณ์ไปในประเภทใดดังต่อไปนี้ด้วย คือ
1. เมืองที่มีลักษณะเฉพาะซึ่งสะท้อนยุคสมัยของวัฒนธรรมซึ่งได้รับการอนุรักษ์ ไว้เกือบทั้งหมด และไม่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาของเมืองในยุคต่อมา ซึ่งควรรวมพื้นที่รอบข้างที่จำเป็นในการเสนอชื่อด้วย
2. เมืองซึ่งมีพัฒนาการมานาน มีการเปลี่ยนแปลงมาตลอด แต่ได้มีการอนุรักษ์พื้นที่และโครงการดั้งเดิมต่างๆ ของยุคสมัยต่างๆ ไว้ โดยมีสิ่งแวดล้อมโดยรอบเป็นปัจจุบัน
3. เมืองศูนย์กลางซึ่งอยู่บนพื้นที่ซึ่งเคยเป็นเมืองโบราณ แต่ปัจจุบันกลายเป็นเมืองรูปแบบสมัยใหม่ ทั้งนี้ควรมีการบ่งชี้ว่า มีความเป็นมาตั้งแต่ยุคใด และมีขอบเขตโดยรอบที่ถูกต้องลงไปด้วย
4. พื้นที่ หรืออาณาเขตซึ่งอาจอยู่ในลักษณะของซากเมืองหรือร่องรอยที่เหลืออยู่ ซึ่งปรากฏหลักฐานมากพอที่จะบ่งบอกความเป็นเมืองโบราณ
ในการเสนอชื่อเมืองศูนย์กลางและพื้นที่เมืองโบราณ (ตามข้อ 3 และ 4 ข้างต้น) ควรจะเป็นสถานที่ที่มีหลักฐานทางโบราณคดีมากพอ ไม่ควรเป็นลักษณะของอาคารเก่าเพียง 2-3 หลังเท่านั้น เป็นต้น
ในกรณีที่รูปแบบของอาคารในเมืองนั้นไม่ได้สะท้อนเอกลักษณ์โดยรวมของเมือง นั้นๆ หากมีความสำคัญพิเศษต่างหากก็ไม่ควรอ้างอิงถึงเมืองที่อาคารนั้นตั้งอยู่
เมืองที่เสนอควรเป็นเมืองขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก ซึ่งพอจะสามารถจัดการกับการเจริญเติบโตได้ ส่วนชนบท หมู่บ้าน หรืองานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยนั้น ควรมีผลการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาต่างๆ ส่งไปเพื่อการพิจารณาด้วย
เกณฑ์การเสนอแหล่งมรดกทางธรรมชาติ
คณะกรรมการฯ กำหนดให้แหล่งมรดกทางธรรมชาติหมายถึง
1.ลักษณะทางธรรมชาติทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพที่มีคุณค่า ความสำคัญ และชื่อเสียงในระดับสากล ทั้งในแง่สุนทรียภาพและวิทยาศาสตร์
2.ลักษณะทางธรณี ภูมิประเทศ หรือพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์หรือพืชที่หายาก ซึ่งมีคุณค่าและความสำคัญในระดับสากลในแง่วิทยาศาสตร์ หรือการอนุรักษ์
3.พื้นที่ทางธรรมชาติโดยเฉพาะที่มีคุณค่าและความสำคัญระดับสากลในแง่ของวิทยาศาสตร์ การอนุรักษ์ และความงามตามธรรมชาติ
ซึ่งทั้งสามประเภทต้องมีลักษณะเข้าเกณฑ์หนึ่งใน 4 ประการดังนี้ด้วย คือ
(1) เป็นสิ่งแสดงหรือบอกถึงยุคหรือช่วงที่สำคัญของวิวัฒนาการของโลกอย่างชัดเจน
(2) เป็นสิ่งแสดงหรือบอกถึงกระบวนการทางธรณีวิทยา วิวัฒนาการทางชีววิทยา ตลอดจนปฏิสัมพันธ์ที่มนุษย์มีต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในแบบต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันตามช่วงพัฒนาการของโลก
(3) เป็นแหล่งปรากฏการณ์ธรรมชาติที่พิเศษ เช่น พื้นที่ซึ่งยังมีระบบนิเวศและธรรมชาติที่สวยงามอันมีชื่อเสียง หรือแม้แต่พื้นที่ซึ่งมีระบบนิเวศน์และองค์ประกอบด้านอารยธรรมที่มีชื่อ เสียง
(4) เป็นแหล่งอาศัยที่สำคัญของพืชและสัตว์ที่หายากซึ่งมีชื่อเสียง
(5) ในกรณีของสัตว์ที่มีการอพยพย้ายถิ่น ควรมีการคุ้มครองพื้นที่ที่สัตว์จะย้ายไปอยู่เช่นกัน ทั้งนี้ควรมีข้อตกลงของประเทศที่เกี่ยวข้องเสียก่อน
(6) พื้นที่ในข้อ (1) ถึง (4) จะต้องได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่น ในรูปของอุทยานแห่งชาติ หากไม่มีก็ควรมีแผนการจัดการที่จะนำไปปฏิบัติต่อไปได้
ข้อกำหนดในการคัดชื่อแหล่งมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลก
คณะกรรมการฯ จะพิจารณาคัดชื่อแหล่งมรดกโลกออกจากบัญชีรายชื่อแหล่งมรดกโลกได้ตามระเบียบที่วางไว้ในกรณีที่
1. แหล่งมรดกนั้นได้รับความเสียหายจนสูญเสียลักษณะที่ชัดเจนของตัวเอง
2. แหล่งมรดกนั้นได้รับการบุกรุกทำลายโดยมนุษย์ระหว่างการพิจารณา หรือไม่ได้รับการจัดการตามมาตรการหรือโครงร่างแผนงานต่างๆ ตามเวลาที่ภาคีประเทศนั้นๆ เสนอต่อคณะกรรมการ
ดังนั้นหากมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นแก่แหล่งมรดกต่างๆ ทั้งที่ได้รับการพิจารณาหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาให้เข้าในบัญชีรายชื่อ แหล่งมรดกโลก ประเทศภาคีที่เป็นเจ้าของจะต้องแจ้งให้ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการฯ ทราบโดยทันที
เมื่อเลขานุการฯ ได้รับแจ้งถึงความเสียหายที่มีต่อแหล่งมรดกนั้นๆ (ไม่ว่าจะโดยทราบจากประเทศภาคี หรือจากแหล่งข้อมูลใดก็ตาม) ก็จะตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ กับประเทศภาคี และจะแจ้งให้คณะทำงานตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม (ยกเว้นแต่มีความเห็นจากประธาน ฯ ว่า ไม่ควรดำเนินการพิจารณาต่อไป รวมทั้งขอความเห็นจากองค์การที่ปรึกษาต่างๆ คือ ICOMOS และ IUCN และICCROM (The International Center for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Property in Rome)เพื่อมอบให้คณะทำงานนำไปประกอบการพิจารณาต่อไป
ในที่สุดคณะกรรมการฯ จะตรวจสอบข้อมูลและความเห็นของคณะทำงาน และจะพิจารณาออกเสียงโดยถือตามเสียง 2ใน 3 ของที่ประชุม ทั้งนี้ การพิจารณาคัดชื่ออกดังกล่าว จะต้องเปิดโอกาสให้ประเทศภาคีนั้นๆ ได้ให้เหตุผลและตอบคำถามต่างๆ ร่วมด้วย และต้องผ่านการตรวจสอบการมีลักษณะทางธรรมชาตินั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ่งได้แก่
1. พื้นที่ในข้อ (1) ข้างต้น จะต้องมีลักษณะที่แท้จริงของความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบภายในยุคนั้นๆ
2. พื้นที่ในข้อ (2) ข้างต้น จะต้องมีขนาดและองค์ประกอบสำคัญๆ ที่แสดงถึงกระบวนการตลอดจนลักษณะเฉพาะพื้นที่นั้น ๆ อย่างชัดเจน เช่น ความสูงจากระดับน้ำทะเล หรือลักษณะดิน เป็นต้น
3. พื้นที่ในข้อ (3) ข้างต้น จะต้องมีองค์ประกอบด้านระบบนิเวศน์ของตนเอง เพื่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในพื้นที่นั้นๆ เช่น การมีทิศทางการไหลผ่านที่แน่นอนของแนวปะการังที่สวยงาม เป็นต้น
4. พื้นที่ในข้อ (4) ข้างต้น ควรมีขนาดและองค์ประกอบในการดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ที่หายากนั้นๆ อย่างเพียงพอ
5.ในกรณีของสัตว์ที่มีการอพยพย้ายถิ่น ควรมีการคุ้มครองพื้นที่ที่สัตว์จะย้ายไปอยู่เช่นกัน ทั้งนี้ควรมีข้อตกลงของประเทศที่เกี่ยวข้องเสียก่อน
6. พื้นที่ในข้อ (1) ถึง (4) จะต้องได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่น ในรูปของอุทยานแห่งชาติ หากไม่มีก็ควรมีแผนการจัดการที่จะนำไปปฏิบัติต่อไปได้
6. พื้นที่ในข้อ (1) ถึง (4) จะต้องได้รับการคุ้มครองจากกฎหมาย เช่น ในรูปของอุทยานแห่งชาติ หากไม่มีก็ควรมีแผนการจัดการที่จะนำไปปฏิบัติต่อไปได้
มรดกโลกที่ขึ้นบัญชีเอาไว้ในขณะนี้
เว็บไซต์ทางการยูเนสโก ระบุผลการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ครั้งที่ 35 กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ได้ประกาศขึ้นทะเบียนมรดกโลก ปี 2554 ซึ่งเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ และแบบผสม จำนวน 25 แห่ง โดยแบ่งเป็น แหล่งทางวัฒนธรรม 21 แห่ง แหล่งทางธรรมชาติ 3 แห่ง และแบบผสม 1 แห่ง ทำให้ขณะนี้มีแหล่งมรดกโลกที่มีการขึ้นทะเบียนแล้วทั้งหมด 936 แห่ง เป็นวัฒนธรรม 725 แห่ง ธรรมชาติ 183 แห่ง แบบผสม 28 แห่งสำหรับมรดกโลกปี 2554 ทางวัฒนธรรม ได้แก่
-โบราณคดีของเกาะ Meroe ซูดาน
-ป้อมปราการราชวงศ์โฮปลายศตวรรษที่ 14 เวียดนาม
-พื้นที่กาแฟภูมิทัศน์วัฒนธรรมของโคลัมเบีย
-ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ Serra de Tramuntana สเปน
-แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของ Al Ain สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
-โรงงาน Fagus เยอรมนี
-สถาปัตยกรรมในยุคอาณานิคมของอังกฤษ ศตวรรษที่ 18 - 19 บาเบร์ดอส
-โบราณคดีของเกาะ Meroe ซูดาน
-ป้อมปราการราชวงศ์โฮปลายศตวรรษที่ 14 เวียดนาม
-พื้นที่กาแฟภูมิทัศน์วัฒนธรรมของโคลัมเบีย
-ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของ Serra de Tramuntana สเปน
-แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของ Al Ain สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
-โรงงาน Fagus เยอรมนี
-สถาปัตยกรรมในยุคอาณานิคมของอังกฤษ ศตวรรษที่ 18 - 19 บาเบร์ดอส
-Longobards อิตาลี ประกอบด้วย 7 กลุ่มของอาคารที่สำคัญ
-เสาเข็มยุคก่อนประวัติศาสตร์รอบเทือกเขาแอลป์ ครอบคลุมออสเตรีย ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สโลวิเนีย และสวิสเซอร์แลนด์
- นิเวศวิทยา การประมงและรวบรวมหอยมีชีวิตและการใช้ของมนุษย์อย่างยั่งยืน เซเนกัล
-สวนเปอร์เซีย อิหร่าน
-ภูมิทัศน์ทะเลสาบวัฒนธรรมของหางโจว จีน
-วัดฮิไรซุมิ วัดที่เป็นตัวแทนของพุทธศาสนาที่บริสุทธิ์ ญี่ปุ่น
-วัดฮิไรซุมิ วัดที่เป็นตัวแทนของพุทธศาสนาที่บริสุทธิ์ ญี่ปุ่น
-Konso ภูมิทัศน์วัฒนธรรม เอธิโอเปีย
-มอมบาซา เคนยา
-มอมบาซา เคนยา
-คอมเพล็กซ์มัสยิด Selimiye Edirne ตุรกี
-ภาพแกะสลักหินและอนุสาวรีย์ศพของวัฒนธรรมในมองโกเลีย อัลไต 12,000 ปีที่ผ่านมา
-ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเกษตรเมดิเตอร์เรเนียน ฝรั่งเศส
-อนุสาวรีย์แสดงการเปลี่ยนแปลงจากบาร็อคกับสถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิค นิคารากัว
-สถาปัตยกรรมสไตล์เช็ก ยูเครน และ
. -หมู่บ้านแบบโบราณในภาคเหนือของซีเรีย
สำหรับหลายประเทศ การมีมรดกโลกกลับหมายถึง การได้ภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศ การได้ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ซึ่งมีผลพลอยได้ที่ตามมาคือเม็ดเงินจากตัวเลขของนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น
ปัจจุบัน มีมรดกโลกทั้งหมด 830 แห่ง ใน 138 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 644 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 162 แห่ง และอีก 24 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ แอฟริกา อาหรับ เอเชีย แปซิฟิก ยุโรป - อเมริกาเหนือ และ อเมริกาใต้ - แคริบเบียน
ปัจจุบัน มีมรดกโลกทั้งหมด 830 แห่ง ใน 138 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 644 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 162 แห่ง และอีก 24 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ แอฟริกา อาหรับ เอเชีย แปซิฟิก ยุโรป - อเมริกาเหนือ และ อเมริกาใต้ - แคริบเบียน
สัญลักษณ์
ทวีปที่มีมรดกโลกมากที่สุดได้แก่ ยุโรป และ อเมริกาเหนือ 416 แห่ง รองลงมาเป็นทวีปเอเชีย-แปซิฟิก 182 แห่ง ละตินอเมริกา และ แคริบเบียน 117 แห่ง แอฟริกา 74 แห่ง อาหรับ 62 แห่ง รวมทั้งหมด 851 แห่ง
สำหรับประเทศท็อปเท็นที่มีแหล่งมรดกโลกมากที่สุดคือ อิตาลี มีมรดกโลก 41 แห่ง อันดับ 2 สเปน 40 แห่ง อันดับ 3 จีน 35 แห่ง อันดับ 4 เยอรมนี 32 แห่ง อันดับ 5 ฝรั่งเศส 31 แห่ง อันดับ 6 ร่วมมี 3 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร อินเดีย เม็กซิโก ประเทศละ 27 แห่งเท่ากัน อันดับ 9(ไม่มีอันดับ7กัย8เพราะอันดับ 6 มี3 ประเทศ) รัสเซีย 23 แห่ง อันดับ 10 สหรัฐอเมริกา 20 แห่ง
ทั้งนี้ น่าสังเกตว่าประเทศที่ติด10อันดับประเทศที่มีมรดกโลกมาก ส่วนใหญ่จะมาจากทวีปยุโรป(6ประเทศ) ซึ่งก็น่าจะมาจากตัวองค์กร ยูเนสโก(องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ) ที่ยังมีความเป็นยุโรปอย่างมาก ทั้งที่ตั้งองค์กรและบุคลากรส่วนใหญ่
ด้านขั้นตอนการเสนอชื่อสถานที่ ประเทศที่ต้องการเสนอชื่อสถานที่ในประเทศของตนให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้น ทะเบียนเป็นมรดกโลก อันดับแรกจะต้องจัดทำบัญชีรายชื่อสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรรมชาติและ วัฒนธรรมทั้งหมดภายในประเทศของตน
บัญชีนี้จะเรียกว่า บัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะมีเพียงสถานที่ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีนี้เท่านั้นที่จะมีสิทธิได้รับการ เสนอชื่อ ขั้นต่อมา ประเทศนั้นๆจะต้องเลือกรายชื่อสถานที่ที่ต้องการเสนอชื่อมาจากบัญชีรายชื่อ เบื้องต้น เพื่อจัดทำเป็นแฟ้มข้อมูล (Nomination File) โดยทางศูนย์มรดกโลกอาจให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการจัดทำแฟ้มข้อมูลนี้
อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงขั้นตอนนี้ แฟ้มข้อมูลจะถูกตรวจสอบและพิจารณาจากองค์กร 2 แห่ง ได้แก่ สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี (International Council on Monuments and Sites) และ สหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ (World Conservation Union) แล้วทั้งสององค์กรนี้จะยื่นข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการมรดกโลก ทางคณะกรรมการจะมี
การประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้ง เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่มีการเสนอชื่อแห่งใดบ้างที่ควรได้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลก หรือทางคณะกรรมการอาจร้องขอให้ประเทศที่เสนอชื่อได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถาน ที่เพิ่มเติม โดยการพิจารณาว่าจะขึ้นทะเบียนสถานที่แห่งใดจะต้องมีลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐาน ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ
เกณฑ์การพิจารณา จนถึงปี พ.ศ. 2548 มีเกณฑ์การพิจารณาอยู่ทั้งหมด 6 เกณฑ์ของมรดกโลกทางวัฒนธรรม และ 4 เกณฑ์
หลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม
- เป็นตัวแทนในการแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญฉลาดของมนุษย์
- เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใดๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
- เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
- เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
- เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของวัฒนธรรมมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งเสื่อมสลายได้ง่ายจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตาม กาลเวลา
- มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์
หลักเกณฑ์ทางธรรมชาติ
- เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทาง ธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
- เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ ความสนใจด้วย
มรดกโลก (UNESCO World Heritage Site) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
ในปัจจุบัน มีมรดกโลกทั้งหมด 830 แห่ง ใน 138 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 644 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 162 แห่ง และอีก 24 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ แอฟริกา อาหรับ เอเชียแปซิฟิก ยุโรป - อเมริกาเหนือ และ อเมริกาใต้ - แคริบเบียน
หมายเหตุ มรดกโลกในประเทศตุรกีและรัสเซียนั้น นับรวมเข้ากับทวีปยุโรป
มาดูว่าประเทศไทยของเรามี มรดกโลกอะไรบ้าง ซึ่งเป็นที่น่าภูมิใจของเราชาวไทยอย่างมาก มีด้วยกัน 5 แห่ง
บัญชีนี้จะเรียกว่า บัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะมีเพียงสถานที่ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีนี้เท่านั้นที่จะมีสิทธิได้รับการ เสนอชื่อ ขั้นต่อมา ประเทศนั้นๆจะต้องเลือกรายชื่อสถานที่ที่ต้องการเสนอชื่อมาจากบัญชีรายชื่อ เบื้องต้น เพื่อจัดทำเป็นแฟ้มข้อมูล (Nomination File) โดยทางศูนย์มรดกโลกอาจให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการจัดทำแฟ้มข้อมูลนี้
อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงขั้นตอนนี้ แฟ้มข้อมูลจะถูกตรวจสอบและพิจารณาจากองค์กร 2 แห่ง ได้แก่ สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี (International Council on Monuments and Sites) และ สหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ (World Conservation Union) แล้วทั้งสององค์กรนี้จะยื่นข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการมรดกโลก ทางคณะกรรมการจะมี
การประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้ง เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่มีการเสนอชื่อแห่งใดบ้างที่ควรได้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลก หรือทางคณะกรรมการอาจร้องขอให้ประเทศที่เสนอชื่อได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถาน ที่เพิ่มเติม โดยการพิจารณาว่าจะขึ้นทะเบียนสถานที่แห่งใดจะต้องมีลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐาน ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ
เกณฑ์การพิจารณา จนถึงปี พ.ศ. 2548 มีเกณฑ์การพิจารณาอยู่ทั้งหมด 6 เกณฑ์ของมรดกโลกทางวัฒนธรรม และ 4 เกณฑ์
หลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม
- เป็นตัวแทนในการแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันชาญฉลาดของมนุษย์
- เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลยิ่ง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสืบต่อมาในด้านการออกแบบทางสถาปัตยกรรม อนุสรณ์สถาน ประติมากรรม สวน และภูมิทัศน์ ตลอดจนการพัฒนาศิลปกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบนพื้นที่ใดๆ ของโลกซึ่งทรงไว้ซึ่งวัฒนธรรม
- เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
- เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของประเภทของสิ่งก่อสร้างอันเป็นตัวแทนของการพัฒนา ทางด้านวัฒนธรรม สังคม ศิลปกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
- เป็นตัวอย่างอันโดดเด่นของวัฒนธรรมมนุษย์ ขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งสถาปัตยกรรม วิธีการก่อสร้าง หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ซึ่งเสื่อมสลายได้ง่ายจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมตาม กาลเวลา
- มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์
หลักเกณฑ์ทางธรรมชาติ
- เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของการเป็นตัวแทนในวิวัฒนาการสำคัญต่างๆในอดีตของโลก เช่น ยุคสัตว์เลื้อยคลาน ยุคน้ำแข็ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาความหลากหลายทางธรรมชาติบนพื้นโลก
- เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทาง ธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
- เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะ อันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ ความสนใจด้วย
มรดกโลก (UNESCO World Heritage Site) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
ในปัจจุบัน มีมรดกโลกทั้งหมด 830 แห่ง ใน 138 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 644 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 162 แห่ง และอีก 24 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 พื้นที่ ได้แก่ แอฟริกา อาหรับ เอเชียแปซิฟิก ยุโรป - อเมริกาเหนือ และ อเมริกาใต้ - แคริบเบียน
หมายเหตุ มรดกโลกในประเทศตุรกีและรัสเซียนั้น นับรวมเข้ากับทวีปยุโรป
มาดูว่าประเทศไทยของเรามี มรดกโลกอะไรบ้าง ซึ่งเป็นที่น่าภูมิใจของเราชาวไทยอย่างมาก มีด้วยกัน 5 แห่ง
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ไทยที่ตั้งอยู่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534
ประวัติ
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา จากการสำรวจพบว่า มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ไม่ต่ำกว่า 200 แห่ง การดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวกับโบราณสถานของกรุงศรีอยุธยา ได้เริ่มต้นขึ้นครั้งแรก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ พระยาโบราณราชธานินท์ ข้าหลวงมณฑลกรุงเก่าทำการขุดแต่งพระที่นั่งบางองค์ในเขตพระราชวังหลวง ซึ่งในขณะนั้นรกมาก เนื่องจากอิฐหัก กากปูนทับถมกว่าร้อยปี
ต่อมาในสมัยของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงได้เริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่ง และวัดต่างๆ โดยมีกรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล
ปี พ.ศ. 2512 ได้มีโครงการชื่อ โครงการสำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถาน โดยมีความพยายามที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ในอันที่จะอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไว้ ในที่สุด พ.ศ. 2519 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างของงานชิ้นใหม่ แล้วจัดทำโครงการอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้น และเริ่มทำการบูรณะปรับปรุงโบราณสถานเป็นต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ
(i) - เป็นตัวแทนซึ่งแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันฉลาด
(iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
แหล่งมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
ทั้ง 3 อุทยานประวัติศาสตร์นี้ได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ
(i) - เป็นตัวแทนซึ่งแสดงผลงานชิ้นเอกที่จัดทำขึ้นด้วยการสร้างสรรค์อันฉลาด
(iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
เป็นแหล่งมรดกโลกของประเทศไทย โดยการลงทะเบียนของยูเนสโก ระหว่างวันที่ 9-13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ณ เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนีเซีย กินพื้นที่ครอบคลุม 6 อำเภอ ของ 3 จังหวัด ได้แก่ อำเภอบ้านไร่ อำเภอลานสัก อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี อำเภอสังขละบุรี อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก มีพื้นที่ 4,046,747 ไร่ หรือ 6,427 ตารางกิโลเมตร
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ
(viii) - เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของขบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
(ix) - เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
(x) - เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจด้วย
ลักษณะทางภูมิประเทศ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่ มีลักษณะทางภูประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อน และเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำลำธารที่สำคัญเช่น แม่น้ำแควน้อยและแม่น้ำแควใหญ่ พื้นที่ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร มีความสูงโดยเฉลี่ยมีความสูงอยู่ที่ ประมาณ 800 - 1,200 เมตรจากระดับน้ำทะเล และมีเขาใหญ่เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรซึ่งมีความสูง 1,800 เมตรจากระดับน้ำทะเล
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง บ้านเชียงจังหวัดอุดรธานี
เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี ร่องรอยของมนุษย์ในประเทศไทยสมัยดังกล่าว
แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาติจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ของบ้านเชียงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่
1.ภาชนะดินเผาสมัยต้น อายุ 5,600-3,000 ปี มีลายเชือกทาบ ซึ่งคาดกันว่าเป็นปอกัญชา ทั้งยังมีลายขูดขีด และมีการเขียนสีบ่า โดยพบวางคู่กับโครงกระดูก บางใบใช้บรรจุศพเด็กด้วย
2.ภาชนะดินเผาสมัยกลาง อายุ 3,000 ปี-2,300 ปี สมัยนี้เป็นสมัยที่เริ่มมีการขีดทาสีแดงแล้ว
3.ภาชนะดินเผาสมัยปลาย อายุ 2,300 ปี-1,800 ปี เป็นยุคที่มีลวดลายที่สวยงามที่สุด ลวดลายพิสดาร สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมที่สงบสุข ก่อนที่จะกลายมาเป็นการเคลือบน้ำโคลนสีแดงขัดมัน
แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมที่มีพัฒนาการแล้วในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านความรู้ความสามารถหรือภูมิปัญญา อันเป็นเครื่องมือสำหรับช่วยให้ผู้คนเหล่านั้นสามารถดำรงชีวิตและสร้างสังคม-วัฒนธรรมของมนุษย์ได้สืบเนื่องต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน วัฒนธรรมบ้านเชียงได้ครอบคลุมถึงแหล่งโบราณคดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่ง ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ที่มีมนุษย์อยู่อาศัยหนาแน่นมาตั้งแต่หลายพันปีแล้ว ด้วยเหตุนี้เององค์การยูเนสโกของสหประชาชาติจึงได้ยอมรับขึ้นบัญชีแหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียงไว้เป็นแห่งหนึ่งในบรรดามรดกโลก
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ของบ้านเชียงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่
1.ภาชนะดินเผาสมัยต้น อายุ 5,600-3,000 ปี มีลายเชือกทาบ ซึ่งคาดกันว่าเป็นปอกัญชา ทั้งยังมีลายขูดขีด และมีการเขียนสีบ่า โดยพบวางคู่กับโครงกระดูก บางใบใช้บรรจุศพเด็กด้วย
2.ภาชนะดินเผาสมัยกลาง อายุ 3,000 ปี-2,300 ปี สมัยนี้เป็นสมัยที่เริ่มมีการขีดทาสีแดงแล้ว
3.ภาชนะดินเผาสมัยปลาย อายุ 2,300 ปี-1,800 ปี เป็นยุคที่มีลวดลายที่สวยงามที่สุด ลวดลายพิสดาร สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมที่สงบสุข ก่อนที่จะกลายมาเป็นการเคลือบน้ำโคลนสีแดงขัดมัน
เหตุผลที่ได้รับคัดเลือกเป็นมรดกโลก
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ
(iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมีเหตุผลตามเกณฑ์การพิจารณาคือ
(iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
มรดกโลก ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
เป็นมรดกโลกแหล่งที่ 5 ของไทย และเป็นอันดับที่ 2 ของมรดกทางธรรมชาติไทย ได้รับการลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 10-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ณ กรุงเดอแบน ประเทศแอฟริกาใต้ ประกอบไปด้วย อุทยานแห่งชาติ 4 แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอีก 1 แห่ง กินพื้นที่อยู่ใน 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว และบุรีรัมย์ มีพื้นที่รวมทั้งสิ้นราว 3,874,863 ไร่ หรือ 6,155 ตารางกิโลเมตร ถูกเรียกว่าเป็น ผืนป่าตะวันออก ซึ่งเปรียบเทียบกับผืนป่าตะวันตก ในเขตจังหวัดตาก และรอบๆ
ประวัติ
ช่องดงพญากลาง ในเขตป่าดงพญาเย็น ปัจจุบันมีโรงงานปูนซีเมนต์ไปตั้งอยู่ภายใน
ป่าดงพญาไฟ
แหล่งมรดกโลกผืนนี้ตั้งอยู่บนเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งแต่ก่อนเป็นป่าดงดิบที่ทึบหนา มีสัตว์มากมาย ทั้ง เสือ กระทิง และช้าง ชุกชุมไปด้วยไข้มาเลเรีย ไม่มีถนนหนทางตัดฝ่าผืนป่า ดั่งเช่นในปัจจุบัน การเดินทางจากกรุงเทพ ไปภาคอีสานนั้น จึงยากลำบากอย่างยิ่ง หลายคนต้องเสียชีวิตด้วยไข้ป่า หรือสัตว์ป่า จนไม่ค่อยจะมีใครกล้าเข้ามาในดินแดนแถบนี้ ผู้คนจึงตั้งชื่อให้ผืนป่าแห่งนี้ว่า ป่าดงพญาไฟ
ป่าดงพญาเย็น
คำว่า ป่าดงพญาเย็นนั้น ได้ถูกกล่าวขึ้นเป็นครั้งแรก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จากหลักฐานจากบทพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่อง เที่ยวตามทางรถไฟ ได้ทรงเล่าถึงป่าดงพญาไฟไว้ว่า
"ดงพญาไฟนี้ เป็นช่องสำหรับข้ามไปมา ระหว่างเมืองสระบุรีกับมณฑลนครราชสีมาแต่โบราณ ไปได้แต่โดยเดินเท้า จะใช้ล้อเกวียนหาได้ไม่ ด้วยทางต้องเดินตามสันเขาบ้าง ตามไหล่เขาบ้าง คนเดินตามปกตินั้นตั้งแต่ตำบลแก่งคอย ต้องค้างคืนในป่านี้ถึง 2 คืน ถึงจะพ้น"
"สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคยพระราชดำริไว้ว่า ไม่ควรเรียกดงพญาไฟเพราะให้คนครั่นคร้าม จึงทรงกราบทูลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้เปลี่ยนชื่อจาก ดงพญาไฟ เป็นดงพญาเย็น แต่คนหลายๆคนก็ยังคงเรียกว่า ป่าดงพญาไฟอยู่ดั่งเดิม"
หลังจากมีการสร้างทางรถไฟ และถนนมิตรภาพ จากภาคกลางไปสู่ภาคอีสาน ดงพญาไฟก็ถูกผ่าออกทันที ผู้คนเริ่มที่จะอพยพเข้าไป แล้วถากถางป่าทำไร่ทำนา โดยเฉพาะบริเวณ ฟาร์มโชคชัย อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา นับตั้งแต่นั้นมา ป่าที่เคยดุร้ายดงพญาไฟ ก็ได้กลายมาเป็นป่าที่ต้องอยู่เงียบๆ ป่าดงพญาเย็นอย่างสมบูรณ์ตั้งแต่นั้นมา
ตำบลเขาใหญ่
แม้การถางป่าโดยการสร้างถนน และรถไฟ ที่เริ่มจากการก่อสร้างจากเขตแดนสุดของป่านั้น จะสามารถปราบป่าอันน่าเกรงขามนี้ได้ แต่ป่านั้น ก็ไม่ยอมให้ใครมารุกรานใจกลางป่าได้
เมื่อราว 70-80 ปีก่อน ได้มีชาวบ้าน จากบ้านท่าชัย และบ้านท่าด่าน จังหวัดนครนายก อพยพมาบุกเบิกพื้นที่ทำกันบริเวณริมหนองขิง กลางผืนป่าเขาใหญ่ อันเป็นทำเลที่ดี มีน้ำอุดมสมบูรณ์ ถากถางเพื่อทำไร่พริก และนาข้าว เมื่อเห็นว่าสถานที่นี้ดี ก็กลับไปชวนญาติๆตามขึ้นมาถากถาง จนกลายมาเป็นชุมชนกลางป่าที่มีราว 40 หลังคาเรือน ยิ่งเวลาผ่านไป ก็ยิ่งมีชาวบ้านจากจังหวัดรอบๆยิ่งขึ้นมาถากถางมากขึ้น จนพื้นที่ราว 18,750 ไร่ หรือราว 30 ตารางกิโลเมตร ถูกถากถางไป
ในราวปี พ.ศ. 2465 ชุมชนนี้ได้ขออนุญาตจัดตั้งเป็น ตำบลเขาใหญ่ ขึ้นกับ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ชื่อ เขาใหญ่ จึงเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่นั้นมา ทั้งที่ไม่มียอดเขาแห่งใดที่มีชื่อคำว่าเขาใหญ่เลย มีแต่ เขาเขียว เขาร่ม เขาแหลม และเขาสามร้อยยอดเท่านั้น
ด้วยเหตุที่ว่าตำบลเขาใหญ่นี้อยู่กลางใจป่า ไม่มีถนนที่สามารถเข้าไปได้อย่างสะดวก จึงทำให้ชุมชนนี้กลายเป็นบ้านป่าเมืองเถื่อน กลายเป็นแหล่งซ่อนสุมของเหล่าโจรผู้ร้าย ดังนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2475 ทางจังหวัดนครนายก จึงได้ส่งคน นามว่า ปลัดจ่าง มาปราบกวาดล้างโจรบนเขาใหญ่ และก็สามารถปราบได้ โดยใช้เวลานับเดือน แต่ตัวปลัดนั้นก็ต้องมาเสียชีวิตด้วยไข้ป่า ผู้คนจึงเชิดชูด้วยความกล้าหารของท่าน พวกเขาจึงการสร้าง ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ ขึ้น เป็นศาลที่ให้ผู้คนกราบไหว้มาจนถึงปัจจุบัน
เมื่อปราบปรามโจรเสร็จ ทางจังหวัดนครนายกเห็นว่าขืนปล่อยให้มีการตั้งตำบลอยุ่เหมือนเดิม นานเข้าก็จะกลายเป็นชุมโจรอีก จึงได้สั่งให้อพยพชาวบ้านกว่า 1,000 คนลงมายังพื้นราบ และสั่งให้ยกเลิกตำบลเขาใหญ่ ปล่อยให้กลายเป็นทุ่งหญ้ารกร้าง และป่าให้เห็นดั่งเช่นให้เห็นปัจจุบันอย่างเดิม
อุทยานแห่งชาติแห่งแรก
ในปี พ.ศ. 2502 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เดินทางไปตรวจราชการบริเวณนั้น และมีโอกาสนั่งเฮลิคอปเตอร์สำรวจป่า ปรากฏว่าจอมพลสฤษดิ์ได้ห่วงกับการถากถางป่ามากขึ้นทุกวัน ท่านจึงมีคำสั่งให้ทางกระทรวงเกษตรและกระทรวงมหาดไทยร่วมกันสำรวจเพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ และได้ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติในปี พ.ศ. 2505
มรดกโลก
แหล่งมรดกโลกเขาใหญ่ ดงพญาเย็นนั้น เป็นผืนป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยมีสภาพป่าแบบต่างๆ ตั้งแต่ ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และทุ่งหญ้า
ที่ตริง ผืนป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้น เคยได้ถูกคณะกรรมการมรดกโลกของไทยทำเรื่องเสนอขึ้นไปครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2533 แล้ว ซึ่งในขณะนได้เสนอแหล่งธรรมชาติ 3 แหล่งสู่ที่ประชุมองค์การยูเนสโกเพื่อพิจารณา คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และอุทยานแห่งชาติตะรุเตา และปรากฏว่า เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเพียงแห่งเดียว ด้วยเหตุที่ว่าอุทยานแห่งชาติที่เหลือทั้ง 2 แห่งนั้น เล็กเกินไป และยังมีนโยบายไม่เพียงพอ
เป็นแหล่งที่มีชนิดพันธุ์ของพืช และสัตว์ที่ไม่สามารถพบได้ที่อื่นเป็นจำนวนมาก โดยในจำนวนพืชราว 15,000 ชนิดที่พบในประเทศไทย สามารถพบในแหล่งมรดกโลกนี้ถึง 2,500 ชนิด มีพืชเฉพาะผืนป่านี้ถึง 16 ชนิด มีสัตว์ป่ากว่า 800 ชนิด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 112 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกว่า 209 ชนิด นกกว่า 392 ชนิด และเงือก 4 ชนิด ใน 6 ชนิดที่พบในประเทศไทย
ข้อที่ควรจะปรับปรุง
ยูเนสโกได้เสนอข้อเสนอแนะตามมาอีก 6 ข้อ หลังจากได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ได้แก่
1.ให้มีการจัดระบบการจัดผืนป่าทั้งหมดแบบบูรณาการ ไม่ใช่แยกจัดแบบต่างคนต่างดูแลเหมือนเช่นที่ผ่านมา
2.รัฐบาลต้องสนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรบุคคล เพื่อการบริหารจัดการพื้นป่าอย่างเต็มที่
ดูแลนโยบายและการปฏิบัติใหสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน
3.ต้องให้การส่งเสริมการสำรวจ และวิจัยสถานภาพของป่า และสัตว์ป่าอย่างจริงจัง
4.จะต้องหาหนทางเชื่อมผืนป่าต่างๆเข้าด้วยกัน โดยการเชื่อมต่อกับป่าอนุรักษ์ในกัมพูชา
5.ต้องหาทางแก้ปัญหาถนนที่ตัดแยกผืนป่าออกจากกัน โดยจะต้องศึกษา และหามาตรการให้ผืนป่าเชื่อมต่อกันภายในปี พ.ศ. 2550
6.ดำเนินกิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือจากชาวบ้าน และชุมชนในการอนุรักษ์ผืนป่า เพื่อเป็นหลักประกันในสถานภาพมรดกโลก
แหล่งมรดกโลกเขาใหญ่ ดงพญาเย็นนั้น เป็นผืนป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง โดยมีสภาพป่าแบบต่างๆ ตั้งแต่ ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และทุ่งหญ้า
ที่ตริง ผืนป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่นั้น เคยได้ถูกคณะกรรมการมรดกโลกของไทยทำเรื่องเสนอขึ้นไปครั้งหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2533 แล้ว ซึ่งในขณะนได้เสนอแหล่งธรรมชาติ 3 แหล่งสู่ที่ประชุมองค์การยูเนสโกเพื่อพิจารณา คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง และอุทยานแห่งชาติตะรุเตา และปรากฏว่า เขตรักษาพันธุ์สัตวป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ได้รับลงทะเบียนเป็นมรดกโลกเพียงแห่งเดียว ด้วยเหตุที่ว่าอุทยานแห่งชาติที่เหลือทั้ง 2 แห่งนั้น เล็กเกินไป และยังมีนโยบายไม่เพียงพอ
เป็นแหล่งที่มีชนิดพันธุ์ของพืช และสัตว์ที่ไม่สามารถพบได้ที่อื่นเป็นจำนวนมาก โดยในจำนวนพืชราว 15,000 ชนิดที่พบในประเทศไทย สามารถพบในแหล่งมรดกโลกนี้ถึง 2,500 ชนิด มีพืชเฉพาะผืนป่านี้ถึง 16 ชนิด มีสัตว์ป่ากว่า 800 ชนิด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 112 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกว่า 209 ชนิด นกกว่า 392 ชนิด และเงือก 4 ชนิด ใน 6 ชนิดที่พบในประเทศไทย
ข้อที่ควรจะปรับปรุง
ยูเนสโกได้เสนอข้อเสนอแนะตามมาอีก 6 ข้อ หลังจากได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลก ได้แก่
1.ให้มีการจัดระบบการจัดผืนป่าทั้งหมดแบบบูรณาการ ไม่ใช่แยกจัดแบบต่างคนต่างดูแลเหมือนเช่นที่ผ่านมา
2.รัฐบาลต้องสนับสนุนงบประมาณ และทรัพยากรบุคคล เพื่อการบริหารจัดการพื้นป่าอย่างเต็มที่
ดูแลนโยบายและการปฏิบัติใหสอดคล้องสนับสนุนซึ่งกันและกัน
3.ต้องให้การส่งเสริมการสำรวจ และวิจัยสถานภาพของป่า และสัตว์ป่าอย่างจริงจัง
4.จะต้องหาหนทางเชื่อมผืนป่าต่างๆเข้าด้วยกัน โดยการเชื่อมต่อกับป่าอนุรักษ์ในกัมพูชา
5.ต้องหาทางแก้ปัญหาถนนที่ตัดแยกผืนป่าออกจากกัน โดยจะต้องศึกษา และหามาตรการให้ผืนป่าเชื่อมต่อกันภายในปี พ.ศ. 2550
6.ดำเนินกิจกรรมที่เสริมสร้างความร่วมมือจากชาวบ้าน และชุมชนในการอนุรักษ์ผืนป่า เพื่อเป็นหลักประกันในสถานภาพมรดกโลก